วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วันจันทร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559

วันพฤหัสที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559


ความรู้ที่ได้รับ

  • ท่าการบริหารสมอง
  • กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะแบบเคลื่อนที่  ครูผู้สอนจะต้องบอกข้อตกลงหรือทบทวนให้เด็กก่อนเริ่มกิจกรรม และคอยเคลื่อนที่ตามเด็กไปเรื่อยๆ ไม่หันหลังให้เด็กเพื่อให้มองเห็นเด็กได้ครบทุกคนเพื่อควบคุมดูแลไม่ให้เด็กเกิดอันตราย
ตัวอย่างการสร้างข้อตกลง
-กำหนดข้อตกลงว่า ถ้าคุณครูเคาะ ครั้งให้เด็กๆก้าวไปในทิศทางใดก็ได้ ก้าว
-ถ้าคุณครูเคาะ ครั้ง ให้เด็กๆก้าวไปในทิศทางใดก็ได้ ก้าว
-ถ้าคุณครูเคาะรัวๆให้เด็กเคลื่อนที่ไปรอบๆห้องอย่างอิสระ
-ถ้าคุณครูเคาะ2ครั้งติดกันดังๆ ให้เด็กๆหยุดทันที




ตัวอย่างเครื่องเคาะจังหวะจากวัสดุเหลือใช้




การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
-สามารถบริหารสมองด้วยตัวเองได้
-ได้รู้จักการกำหนดข้อตกลงที่จะให้ในการทำกิจกรรมเคลื่อนไหว

การประเมินผล
    ประเมินตนเอง : สามารถบริหารได้คล่องขึ้น  และสนใจในเนื้อหา
    ประเมินเพื่อน :  มีตั้งใจและสนใจอย่างดี
    ประเมินอาจารย์ :  อาจารย์เตรียมอุปกรณ์ไว้พร้อม

วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5


วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559

วันพฤหัสที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559


ความรู้ที่ได้รับ
  • สมรรถนะทั้ง ด้วยของเด็กปฐมวัย 
-  สมรรถนะ คือ พฤติกรรมบ่งชี้ของแต่ละวัย

ตัวอย่าง การเคลื่อนไหวและการทรงตัว
ปี - วิ่งและหยุดเองได้
ปี - เดินต่อเท้าไปข้างหน้าโดยไม่ต้องกางแขน
ปี - เดินต่อเท้าไปข้างหลังโดยไม่กางแขน

ตัวอย่างการมีปฎิสัมพันธ์กับเพื่อนเด็ก
ปี - พูดคุยและเล่นกับเพื่อน
ปี - ช่วยเหลือเพื่อน
ปี - ชวนเพื่อนเล่นด้วยโดยกำหนดสถานที่

  • ความสำคัญของสมรรถนะ 
-ทำให้พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก และครู เข้าใจเด็กมากขึ้น
-สร้างความตระหนักในความสำคัญของการพัฒนาเด็กในแต่ละช่วงมากขึ้น
-ชี้แนะแนวทางในการพัฒนาเด็กเป็นเสมือน "คู่มือช่วยแนะแนว"
  • สมรรถนะทั้ง ด้ายประกอบด้วย
1.การเคลื่อนไหวและสุขภาพทางกาย
    2.พัฒนาการด้านสังคม
      3.พัฒนาการด้านอารมณ์
        4.พัฒนาการด้านการคิดและสติปัญญา
          5.พัฒนาการด้านภาษา
            6.พัฒนาการด้านจริยธรรม
              7.พัฒนาการด้ารการสร้างสรรค์





              การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
              -นำสมรรถนะข้อแต่งต่างของเด็กไปปรับปรุงใช้ในการสอนและทำกิจกรรม
              -ครูควรศึกษาเกี่ยวกับสมรรถนะให้ละเอียดเพื่อเป็นประโยชน์แก่เด็ก
              การประเมินผล
                  ประเมินตนเอง : สนใจบทเรียนและจดสาระสำคัญเสมอ
                  ประเมินเพื่อน :  สนใจและตั้งใจเป็นอย่างดี
                  ประเมินอาจารย์ :เนื้อเยอะและมีความละเอียดแต่อาจารย์สอนได้เข้าใจและกระชับ

              วันอาทิตย์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559



              บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4


              วันจันทร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

              วันพฤหัสที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559


              ความรู้ที่ได้รับ
              • ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย 
              • การนำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

              นักทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาด้านร่างกาย

              กีเซลล์ 
              -ไม่เร่งสอนสิ่งที่ยากเกินไป ให้เด็กพัฒนาไปตามวัย
              -จัดกิจกรรมให้เด็กเคลื่อนไหว ทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
              -จัดกิจกรรมให้เด็กได้ ฟัง พูด ร้องเพลง


              อีริคสัน 
              -ควรสร้างบรรยากาศให้เด็กมีความมั่นใจ กล้าแสดงออก
              -จัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นอย่าอิสระ
              -จัดกิจกรรมเคลื่อนไหว จังหวะ การเคลื่อนที่ของตนเองได้ทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
              • กิจกรรมเคลื่อนไหวอยู่กับที่  ทั้งเดี่ยวและกลุ่มโดยทำคนละ ท่า หน้าชั้นเรียน เพื่อฝึกความกล้าแสดงออกและฝึกใช้เทคในการสอนเด็ก เช่น  การพูด  การใช้สายตามองไปรอบๆ  การอธิบายท่าทางที่จะสอนแก่เด็ก
              การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
              • ใช้ในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวให้เด็กโดยสิ่งที่ต้องคำนึงอยู่เสมอคือการอธิบายและทำท่าทาง และทำตัวอย่างให้เด็กดู ให้เด็กเกิดความน่าสนใจและสนุกสนานกับกิจกรรม  มีส่วนร่วมกับกิจกรรมตลอด 
              • เพื่อฝึกสีหน้าท่าทางคำพูดของครูเหมาะสมในการสอนเด็ก





              การประเมินผล
                  ประเมินตนเอง : ยังไม่กล้าแสดงออกหน้าชั้นเรียนมากนัก
                  ประเมินเพื่อน : มีความตั้งใจดี  และให้ความร่วมมือทำกิจกรรม
                  ประเมินอาจารย์ : อาจารย์มีตัวอย่างให้ดูอยู่ตลอดและให้นศ.ร่วมกิจกรรมเสมอ