วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่  3 


วันจันทร์ที่ 25 มกราคม 2559  

ความรู้ที่ได้รับ

  • การจัดประสบการณ์เคลื่อนไหวสำหรับเด็กปฐมวัย
  • ประเภทกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ มีดังนี้
1.การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับร่างกาย
การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่พื้นฐาน
-   การวิ่ง

การกระโดด
การคลาน
-  การเดิน

2. การเคลื่อนที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ
-  การกระทำให้วัตถุอยู่นิ่งเคลื่อนที่ เช่น การขว้าง การตี
-  การหยุดวัตถุที่เคลื่อนที่ เช่น การรับ 
  •  สำนักพัฒนากรมพลศึกษา สุขภาพและอนามัย แบ่งประเภทกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ดังนี้
1. ประเภทเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานตามจังหวะ
2. ประเภทฝึกปฏิบัติตามสัญญาณหรือข้อตกลง
3.ประเภทกิจกรรมเนื้อหา
4.ประเภทจินตนาการจากคำบรรยาย
5.ประเภทกิจกรรมฝึกความจำ

  • แนวทางการประเมิน
1. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย
2 .สังเกตทำท่าทางแปลกใหม่
3. สังเกตทำท่าทางตามคำสั่ง
4. สังเกตการแสดงออก
5. สังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม
  • การบริหารสมองทั้งสองซีก

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • นำการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆจัดประสบการณ์แก่เด็กเพื่อให้มีพัฒนาการที่ดี
  •  สามารถนำวิธีการประเมินกิจกรรมการเคลื่อนไหวต่างๆไปประเมินเด็กได้หลากหายวิธี
  • ฝึกพัฒนาสมองซีกซ้ายและขวาด้วยการบริหารสมองด้วยตนเองได้


การประเมินผล
    ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนและตอบคำถามอยู่เสมอ
    ประเมินเพื่อน : มีความตั้งใจดีสนใจใจเนื้อหา
    ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ดำเนินกิจกรรมได้กระชับ  เข้าใจง่าย  มีตัวอย่าง

วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2


วันจันทร์ที่ 18 มกราคม 2559  

วันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม 2559  


ความรู้ที่ได้รับ
  • ความหมายกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ คือ กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่างอิสระ
  • การเคลื่อนไหวพื้นฐาน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 
-การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ เช่น การบิดตัว การก้มตัว การเหยียดตัว การดัน
-การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ เช่น การวิ่ง การกระโดด การสไลด์ 

  • องค์ประกอบของการเคลื่อนไหวและจังหวะ มี 5 องค์ประกอบคือ
-การรู้จักส่วนต่างๆของร่างกาย
-บริเวณและเนื้อที่
-ทิศทางของการเคลื่อนไหว
-การฝึกจังหวะ
-ระดับการเคลื่อนไหว

  • ทำกิจกรรมเต้นหน้าห้องเรียนทีละคน จากเพลงที่เลือกและท่าทางประกอบ เพื่อฝึกความกล้าแสดงออก
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • ฝึกการคิดสร้างสรรค์และช่วยให้มีความกล้าแสดงออกมากยิ่งขึ้น
  • ใช้ในการจัดกิจกรรมในงานแสดงวันสำคัญต่างๆให้เด็กได้


การประเมินผล
    ประเมินตนเอง : ไม้ได้ซ้อมมาเต็มเพลงเพราะเข้าใจผิดว่าจะเต้นแค่ท่อนฮุก  แสดงออกไม่ดีเท่าที่ควร
    ประเมินเพื่อน : มีความสนุกสนาน กล้าแสดงออก มีความคิดสร้างสรรค์ท่าทางใหม่ๆ
    ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ดำเนินกิจกรรมอย่างสนุกสนาน เห็นภาพชัดเจน และเข้าใจง่าย  และแสดงตัวอย่างอยู่เสมอ

วันเสาร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่  1
วันพฤหัสบดีที่  14  มกราคม  2559

ความรู้ที่ได้รับ


  • เริ่มต้นการเรียนด้วยการทำท่าบริหารสมองเพื่อฝึกสมองซีกซ้ายและขวา




  • ทำกิจกรรมเต้นเพลงT26  จากนั้นให้เปลี่ยนท่าทางเป็นสัตว์และเสียงร้องสัตว์  สุดท้ายคือให้นศ.นึกท่าทางในชีวิตประจำแล้วนำมาเต้น เช่น  ท่าล้างรถ อาบน้ำ ถูสบู่




การนำไปประยุกต์ใช้



  • เพื่อฝึกกระตุ้นและบริหารสมอง
  • สามารถนำการเต้นไปบูรณาการในหน่วยการรู้ต่างๆ  เช่น  หน่วยสัตว์
  • สามารถใช้เป็นกิจกรรมเคลื่อนไหวออกกำลังกายได้

การประเมินผล
ประเมินตนเอง


  • ตั้งใจและสนใจในกิจกรรม
  • ให้ความร่วมเป็นอย่างดี
  • รู้สึกสนุกสนานมากที่ได้ออกกำลัง
  • ไม่เหนื่อยเลยค่ะ

ประเมินเพื่อน


  • สนใจในกิจกรรมเป็นอย่างดีและให้ความร่วมมื
  • สนุกสนานในการเต้น
  • กล้าแสดงออก

ประเมินอาจารย์


  • อาจารย์สอนสนุกและเข้าใจได้ง่าย
  • บรรยากาศไม่ตึงเครียด
  • อาจารย์เตรียมตัวพร้อม